熱が出た時はこうする!/Thai

タイの病院での熱の下げ方。これは、けっこう衝撃的でした。子を思うnataさんの葛藤も、ものすごく共感。タイ在住のnataさんのレポートをどうぞ。

babyfever

タイにも冬はある

雨季も終わりに近づいたこんな寒いときは、子どもも病気になりやすいものです。特に夜は、天候の変化に体が追い付きません。たとえタイが暑い国でも、ものすごく暑い国だとしても(まあ、多くの方たちは”暑い”と言うものなのですが)、1年の終わり頃ともなれば、バンコクに住む私達も冬の冷たい空気に触れる機会はあるのです。ほんの短い期間でも、です^^
nata
この季節、私は子どもが長袖長ズボンのパジャマに慣れるよう練習させます。エアコンより窓を開け閉めするほうが換気のためにはよいと思っているので、寝室にはエアコンはありません。時々、子どもは寝ている間、うっすら頭に汗をかいていることもあります。それでも、子どもはなかなか毛布をかけたがらないので、このようなパジャマは体を暖かく保つのに一番良いのです。

娘が病院で体験した熱を下げる方法とは、、

「汗は出ないより、出る方がよい」と聞いたことがあります。以前は、私もどういうことかあまりよくわかりませんでした。でも、一番上の娘が生後7か月で高い熱を出したとき、初めて理解できました。娘が高熱を出したとき、私のような新米の母親はもう何をしていいかもわからず、思いつくことと言えば、とにかく急いで子どもを病院へ連れて行くことぐらいでした。病院に着くと、私は子どもの容態を看護師さんに伝え、熱を測りました。熱はとても高く39度もありました。
nata2
看護師さんから解熱剤を飲ませたかどうか聞かれたので、「まだです」と答えると、看護師さんが、私と子どもを別室に連れて行き、子どもの服をオムツにいたるまで、全て脱がせました。看護師さんは、体が拭きやすいよう中に手が入る袋状にデザインされたタオルを準備しました。タオルを濡らすと、体毛の流れに逆らうように心臓に向かって、娘の全身をかなり強い力で拭き始めました。娘の体は全身真っ赤になり、看護師さんがあまりにゴシゴシ拭くために娘の頭がぐらぐら揺れるほどでした。
子どもが不憫で、今でもその映像が頭にやきついています。娘は看護師さんが拭き始めて数秒もしないうちに泣きだし、その声はどんどん大きくなり、完全に拭き終わるまで泣き続けていました。ひとしきり体が拭き終わると、もう一人の看護師さんがやってきて熱を測りました。そして、熱は37度くらいに下がったと言いながら、解熱剤を娘に与え、医師に診察してもらうために普段通り子どもに服を着せました。

衝撃の体験を通して学んだこと

医師と話しをして、なぜ看護師があんなに強く、毛の流れに逆らうように体を拭いていたか分かりました。それは高熱のため熱性けいれんの恐れがあったので、できるだけ速く体温を下げるためだったのです。
nata3
医師は「解熱剤は4時間おきにのませてください、もしその間また熱が上がったら解熱剤の代わりに先ほどの体を拭く方法をやってみてください。ただ、もしお母さんが心配ならまた連れて来てください。看護師が体を拭くのをお手伝いしますから」と繰り返し念押ししました。私は内心、もしほかの症状が出ないのなら、絶対に看護師さんに体を拭いてもらわないぞ、と思ったのでした^^
家に帰る途中、子どもは額に汗をかいていました。熱が高い時、汗は少しもありませんでした。体温は平熱に下がり始め、明らかに気分もよくなりました。「汗は出ないより、出る方がよい」という話は本当でした。その後、しばらくして看護師さんがやっていたように毛の流れに逆らって体を拭いてあげました。痛いと可愛そうなので随分手加減し、その代り15分おきに頻繁に拭くようにしました。
towel
というわけで、この経験のおかげで、熱が高いということでもう二度と子どもを病院に連れて行くことはありませんでした^^
by nata
nataさんありがとうございました!
The World’s Mother Salonでは身体のお手当方法について様々な国からの情報をお届けしています。
マクロビオティックを用いた自然のお手当方法 熱や下痢について/Japan
え!?病院行かないの?―ドイツ人が風邪をひいても、すぐに病院へ行かないわけ―
風邪予防から熱さましまで、モンゴルの驚きの治療方法
ぜひリレーインタビューにご参加ください。
あなたの声を世界のママに届けます。インタビューはこちらから

ปลายฝนต้นหนาว

nata
ช่วงปลายฝนต้นหนาวแบบนี้ เด็กๆ อาจป่วยกันง่ายขึ้น เนื่องจากปรับตัวกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไม่ทัน
โดยเฉพาะช่วงเวลากลางคืน….
ในประเทศไทย ถึงแม้อากาศโดยส่วนใหญ่จะร้อน ถึงร้อนมาก (หลายๆ คนมักพูดแบบนี้) แต่ช่วงปลายๆ ปี
แบบนี้ ผู้ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ก็พอจะมีโอกาสได้สัมผัสกับไอเย็นของฤดูหนาวอยู่บ้างเหมือนกัน ถึงแม้จะเป็น
แค่ระยะเวลาสั้นๆ ก็ตาม 🙂 ดิฉันจึงมักจะฝึกลูกๆ ให้ชินกับการสวมชุดนอน แบบเสื้อแขนยาว กางเกงขายาว ในช่วงเวลานี้
ถึงแม้ภายในห้องนอนจะไม่ได้ติดตั้งเครื่องปรับอากาศก็ตาม เนื่องจากดิฉันเลือกที่จะเปิดหน้าต่างห้องนอนให้อากาศ
ถ่ายเทได้สะดวกแทน เด็กๆ มักไม่ยอมห่มผ้า ดังนั้นการสวมใส่ชุดนอนแบบนี้จึงช่วยให้ความอบอุ่นกับร่างกายได้ดีที่สุด
ถึงแม้บางครั้ง ดิฉันจะสังเกตเห็น เหงื่อเม็ดเล็กๆ ผุดขึ้นมาตรงบริเวณโคนผมของลูกก็ตาม
ดิฉันเคยได้ยินคำกล่าวที่ว่า “มีเหงื่อออก ดีกว่าไม่มีเหงื่อออก” เมื่อก่อนดิฉันเองก็ยังไม่ค่อยเข้าใจ
กับคำกล่าวนี้ จนกระทั่ง ลูกสาวคนแรกของดิฉันไม่สบาย ตัวร้อนมาก ตอนที่อายุประมาณ 7 เดือน คุณแม่มือใหม่อย่างดิฉัน
ทำอะไรไม่ถูกเลย สิ่งเดียวที่คิดได้ตอนนั้นคือ รีบพาลูกส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
เมื่อถึงโรงพยาบาล ดิฉันได้เล่าอาการของลูกให้นางพยาบาลทราบ และทำการวัดไข้ ปรากฎว่าไข้สูงมากถึง 39°C
นางพยาบาลจึงถามดิฉันว่า ให้ลูกทานยาลดไข้มาแล้วหรือยัง หลังจากที่ได้รับคำตอบว่า “ยังค่ะ” นางพยาบาลก็พาดิฉัน
และลูกไปที่ห้องเช็ดตัวเด็ก และให้ดิฉันถอดเสื้อผ้าของลูกออกให้หมด แม้กระทั่งผ้าอ้อมสำเร็จรูป
นางพยาบาลเริ่มใช้ผ้าขนหนู ซึ่งถูกออกแบบมาให้สามารถนำมือสอดเข้าไปด้านในได้ เพื่อความสะดวกในการเช็ดตัว
หลังจากชุบน้ำแล้วก็เริ่มเช็ดตัวในลักษณะ เช็ดย้อนรูขุมขน ให้ทั่วทั้งตัว ด้วยแรงที่มากพอสมควร สังเกตจากลูกสาวของดิฉัน
ตัวแดงไปหมดทั้งตัว และหัวสั่นหัวคลอนไปตามแรงของนางพยาบาล ภาพที่เห็นทำให้ดิฉันรู้สึกสงสารลูกมากและจำภาพนั้นได้
จนถึงทุกวันนี้ (แอบโกรธนางพยาบาลนิดๆ ว่าทำไมรุนแรงจัง) เค้าเริ่มร้องไห้ตั้งแต่วินาทีแรกที่นางพยาบาลเริ่มเช็ดตัวให้
และร้องดังขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งเวลาผ่านไปสักพักจึงเช็ดตัวเสร็จ นางพยาบาลอีกคนก็เข้ามาวัดไข้ และแจ้งดิฉันว่า อุณหภูมิลดลงเหลือ
37°c พร้อมทั้งป้อนยาลดไข้ให้กับลูกสาวดิฉัน และให้ดิฉันสวมเสื้อผ้าให้กับลูกสาวตามเดิม เพื่อรอพบคุณหมอ
หลังจากที่ได้คุยกับคุณหมอ ดิฉันจึงได้เข้าใจว่า สาเหตุที่นางพยาบาลต้องเช็ดตัวย้อนรูขุมขนแรงๆ นั้น เพราะ
ต้องการให้รูขุมขนเปิด เพื่อช่วยระบายความร้อนในตัวของเด็กให้เร็วขึ้น เพราะไข้สูงมาก จึงกลัวเด็กจะช็อค คุณหมอยังกำชับ
ดิฉัน อีกว่า “ยาลดไข้ไม่ควรทานซ้ำ ก่อน 4 ชม. ดังนั้น หากระหว่างนี้ เด็กตัวร้อนขึ้นมาอีกก็ให้ใช้วิธีเช็ดตัวแทน แต่ถ้าคุณแม่
รู้สึกกังวลใจก็ให้พากลับมาหาคุณหมอ และให้นางพยาบาลช่วยเช็ดตัวให้อีกครั้ง” ดิฉันแอบคิดในใจว่า ถ้าไม่มีอาการอย่างอื่น
แทรกซ้อนขึ้นมา ดิฉันจะไม่พาลูกกลับมาให้นางพยาบาลเช็ดตัวให้อีกเด็ดขาด 🙂
ระหว่างเดินทางกลับบ้าน ดิฉันสังเกตเห็นเหงื่อที่ออกมาตรงหน้าผากของลูก ซึ่งก่อนหน้านี้ตอนที่ไข้ขึ้นสูงกลับไม่มี
เหงื่อออกสักเม็ด อุณหภูมิเริ่มลดลงจนเป็นปกติ และอารมณ์ดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด จริงดังคำกล่าวที่ว่า “มีเหงื่อออก ดีกว่าไม่มี”
หลังจากนั้น ดิฉันคอยเช็ดตัวให้ลูก แบบย้อนรูขุมขน ตามที่นางพยาบาลทำให้ดู แต่เบากว่ามากเพราะกลัวลูกเจ็บ ดังนั้นจึงเช็ด
ตัวกันบ่อยหน่อย คือทุก ๆ 15 นาที แทน
จากประสบการณ์ดังกล่าว ดิฉันไม่เคยพาลูกไปหาหมอในขณะที่ลูกตัวร้อนอีกเลย 🙂
by nata

コメントを残す